ลดน้ำเชื่อมสูญเสีย จากปัญหาปริมาตรต่ำกว่ามาตรฐานกระบวนการผลิต 5
คำสำคัญ:
ชุดวาล์วบรรจุ, สปริงวาล์วบทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มผลผลิต และลดต้นทุนการผลิตจากการแก้ไขปัญหาเครื่องจักรเสีย ส่งผลทำให้ผลิต ของเสียในระหว่างการผลิต ซึ่งส่งผลกระทบกับต้นทุนการผลิตของบริษัทตัวอย่าง การศึกษาปัญหาใช้ทฤษฎี 3 จริง และ ทฤษฎีทำไม ทำไม พบสาเหตุของปัญหา คือเกิดปัญหาสปริงเสื้อชุดวาล์วบรรจุ และชุดสปริงวาล์วชำรุด ทำให้เครื่องจักรผลิตของเสีย จึงทำให้เกิดความสูญเสียของผลผลิตผู้วิจัยจึงได้ทำการปรับปรุง จุดที่เป็นสาเหตุของปัญหาสปริงเสื้อชุดวาล์วบรรจุ และชุดสปริงวาล์ว ทำให้เกิดความสูญเสียของของน้ำเชื่อมทั้งหมดถึง 80% ผู้วิจัยได้ทำการแก้ไขรูปแบบชิ้นส่วนเครื่องจักร และมีการกำหนดมาตรฐานในชิ้นส่วนของเครื่องจักรใหม่ และให้ผู้เกี่ยวข้องเฝ้าติดตามกระบวนการปฏิบัติงานให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพมากขึ้น หลังการปรับปรุงพบว่าสามารถลดปัญหาการสูญเสียจากเดิม 9,354 ขวด/เดือน หลังการปรับปรุง 1,232 ขวด/เดือน และจากการแก้ไขปัญหาดังกล่าว โรงงานตัวอย่างสามารถลดการสูญเสียได้จากการปรับปรุงประมาณ 90%
References
ศุภพัฒน์ ปิงตา. (2563). เครื่องมือคุณภาพ 7 ชนิด. https://www.eng.mut.ac.th/article_detail.php?i5=50
สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ. (2563). ทฤษฎี Why Why Analysis. https://www.ftpi.or.th/download/seminarfile/P-talk_nov_2011.pdf
สมจินต์ อักษรธรรม. (2559). การศึกษาแนวทางการประหยัดพลังงาน กรณีศึกษา: บริษัท แพดดิ้ง (ไทยแลนด์) จำกัด. การประชุมวิชาการข่ายงานวิศวกรรมอุตสาหการ 7-8 กรกฎาคม 2559.
3 จริง หรือ 3 GEN. http://www.japanese2u.com/2014/11/3-gen.html
ชนนาถ กฤตวรกาญจน์. (2559). การลดผลิตภัณฑ์บกพร่องของการผลิตใบเลื่อยคันธนูโดยใช้เครื่องมือคุณภาพ. การประชุมวิชาการข่ายงานวิศวกรรมอุตสาหการ, 7-8 ก.ค.2559.
อุมาพร พกแดง และ ณัฐนารี สุขเสกสรรค์. (2556). การลดของเสีย ในกระบวนการผลิตท่อยางน้ำมันในรถยนต์ กรณีศึกษา บริษัทผลิตชิ้นส่วนรถยนต์. การประชุมวิชาการข่ายงาน วิศวกรรมอุตสาหการ, 16-18 ต.ค 2556.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.