แนวทางในการลดความสูญเสียในอุตสาหกรรมต่อเรือในไทย

ผู้แต่ง

  • สนธินันท์ อินทสนธิ สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
  • ศุภพัชร พวงแก้ว สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
  • ทัตพล กุลวงศ์ สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ

คำสำคัญ:

อุตสาหกรรมต่อเรือ, งานระหว่างการผลิต, สมดุลสายการผลิต

บทคัดย่อ

อุตสาหกรรมการต่อเรือเป็นอุตสาหกรรมที่สำคัญอย่างหนึ่งของประเทศ แต่จากข้อมูลที่ผ่านมาแสดงให้เห็นว่าการ เติบโตของการขนส่งทางเรือมีการเติบโตขึ้น ตรงข้ามกับรายได้ของอุตสาหกรรมการต่อเรือที่ลดลง ซึ่งแสดงให้เห็นถึงปัญหาภายในของธุรกิจ โดยการศึกษาครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาความสูญเสียที่เกิดขึ้นในระบบการผลิต และออกแบบวิธีการเพื่อแก้ปัญหา และใช้โปรแกรมจำลองสถานการณ์ มาเพื่อช่วยในการจัดสมดุลสายการผลิต ผลที่ได้จากการศึกษาพบว่า มีความสูญเสียในส่วนของชิ้นงานที่รอการผลิตในระบบ โดยเฉพาะในขั้นตอนการตัดเหล็กก่อนนำไปเชื่อมใต้ท้องเรือเพื่อทำกระดูกงู และยังพบชิ้นงานรอการผลิตที่เสียหายจากการเกิดสนิม ผลที่ได้จากการนำแผนการผลิตที่ได้ออกแบบใหม่ไปทดลองใช้เป็นเวลา 6 สัปดาห์ ผลแสดงให้เห็นว่าสามารถควบคุมให้ชิ้นงานรอการผลิตลงลงจากร้อยละ 7.8 เหลือ 4.8 ของคำสั่งซื้อ ซึ่งคิดเป็นมูลค่าความสูญเสียของเหล็กจากการเป็นสนิมและสูญหาย คิดเป็นมูลค่า 192,000 บาท ต่อการทำกระดูกงูท้องเรือขนาดกลาง 1 ลำ โดยใช้ข้อมูลของเรือบรรทุกขนาดกลาง และยังนำเสนอรายละเอียดของอุตสาหกรรมต่อเรือรวมถึงข้อจำกัดของการศึกษา

References

กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ. (2564). มูลค่าการค้าระหว่างประเทศ ตามประเภทการขนส่ง (ม.ค.-ธ.ค. 2564). https://www.tradelogistics.go.th/th/article/

ฐานข้อมูลความรู้ทางทะเล (2560). อุตสาหกรรมต่อเรือและซ่อมเรือ. https://www.mkh.in.th/index.php?option=com_content&view=article&id=276&Itemid=71&lang=th

Jones, D. T., & Womack, J. P. (2016). The evolution of lean thinking and practice. The Routledge companion to lean management, 8, 3.

Womack, J. P., Jones, D. T., & Roos, D. (2007). The machine that changed the world: The story of lean production--Toyota's secret weapon in the global car wars that is now revolutionizing world industry. Simon and Schuster.

Handfield, R. B., Monczka, R. M., Giunipero, L. C., & Patterson, J. L. (2011). Sourcing and supply chain management. Boston. MA: South-Western Cengage Learning.

Slater, J. (2012). The global lean supply chain: creating end-to-end value. Productivity.

Sharma, S., & Gandhi, P. J. (2017). Scope and impact of implementing lean principles & practices in shipbuilding. Procedia Engineering, 194, 232-240.

Kristoffersen, S. (2012). Nextship-Lean Shipbuilding. Molde University College.

Ramirez-Peña, M., Abad Fraga, F. J., Sánchez Sotano, A. J., & Batista, M. (2019). Shipbuilding 4.0 index approaching supply chain. Materials, 12(24), 4129.

Xia, L. X. X., Ma, B., & Lim, R. (2008). Supplier performance measurement in a supply chain. 6th IEEE International Conference on Industrial Informatics, 877-881. DOI: 10.1109/INDIN.2008.4618224.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-12-30

How to Cite

อินทสนธิ ส., พวงแก้ว ศ., & กุลวงศ์ ท. (2022). แนวทางในการลดความสูญเสียในอุตสาหกรรมต่อเรือในไทย. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธนบุรี, 6(2), 100–108. สืบค้น จาก https://ph03.tci-thaijo.org/index.php/trusci/article/view/527