การศึกษาชนิดของอิมมูโนโกลบูลินที่ผิดปกติความสัมพันธ์กับโรคและความถี่ของการตรวจใน ผู้ป่วยโรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • ทิพาพร จรูญศิริมณีกุล สังกัดงานห้องปฏิบัติการเวชศาสตร์ชันสูตร โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • ปริญญา ประสงค์ดี สังกัดงานห้องปฏิบัติการเวชศาสตร์ชันสูตร โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • พวงผกา สาดี สังกัดงานห้องปฏิบัติการเวชศาสตร์ชันสูตร โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • จันทร์เพ็ญ ศรีพรรณ์ สังกัดงานห้องปฏิบัติการเวชศาสตร์ชันสูตร โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • คัชรินทร์ ภูนิคม ภาควิชาเภสัชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • นันทพันธ์ กนกศิริรุจิษยา ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธนบุร

คำสำคัญ:

MM. (Multiple Myeloma), IFE. (Immunofixation Test)

บทคัดย่อ

การศึกษาชนิดของอิมมูโนโกลบูลินที่ผิดปกติความสัมพันธ์กับโรคและ ความถี่ของการตรวจในผู้ป่วยโรงพยาบาลศรี นครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประเทศไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาหา MM. (Multiple Myeloma) ของผู้ป่วยเป็นโรคมะเร็งทางโลหิตวิทยา ที่เกิดจากความผิดปกติของพลาสมาเซลล์ ซึ่งเป็นกลุ่มของเซลล์เม็ดเลือด ขาว ในผู้ป่วยโรคเอ็มเอ็มพลาสมาเซลล์จะมีการเจริญเติบโตที่ผิดปกติไป ส่งผลให้เกิดความผิดปกติในร่างกาย ส่วนมากสร้าง และตรวจพบ อิมมูโนโกลบูลิน ที่ผิดปกติ ซึ่งสามารถตรวจแยกชนิดและยืนยันได้ด้วย การตรวจ IFE. (Immunofixation Test) ซึ่งในขณะเดียวกัน IFE. ก็ไม่ใช่การทดสอบ สำหรับตรวจกรองโรคเป็นแค่การทดสอบเพื่อตรวจยืนยันชนิดโรค ในโรงพยาบาล ขนาดเล็กอาจไม่มีการตรวจในลักษณะนี้ เพื่อรองรับการให้บริการ ทั้งนี้ราคาค่าบริการในการตรวจ IFE. ในระบบ กรมบัญชีกลางเรียกเก็บสูงถึง 3,000 บาทต่อครั้ง ดังนั้นผลของการศึกษา IFE. เหมาะที่จะใช้ตรวจ เพื่อยืนยันชนิดโรคและควร ส่งตรวจไม่เกิน 2 ครั้งต่อปี เนื่องจากรูปแบบของ อิมมูโนโกลบูลิน มักไม่ค่อยเปลี่ยนแปลง สำหรับคนไข้โรคไตที่มีการส่งตรวจ IFE. ปีละ 1 ครั้ง ถือว่าเหมาะสมเนื่องจากคนไข้ MM มักมีอาการน าด้วยภาวะการท างานของไตบกพร่องร่วมด้วย จาก การศึกษายังพบว่าในคนไข้ไม่เป็น Non Specific Diagnosis นั้น มีการตรวจ IFE. อาจเพราะแพทย์ต้องการตรวจสอบว่าหรือ แยกวินิจฉัยเพื่อตัดความเสี่ยงต่อการเป็น MM. ออก ในขณะเดียวกัน การใช้ SPEP เพื่อตรวจติดตามคนไข้ ก็มีส่วนช่วยได้มาก และราคาก็แตกต่างมากกับการตรวจ IFE. โดยที่ SPEP ราคา 300 บาทต่อครั้ง และโดยเฉพาะในกลุ่ม MM. แล้วพบว่า สามารถใช้ผล SPEP ประเมินคนไข้ได้ถึง 95.8%

References

Barnidge, D.R., Dasari, S., Botz, C.M. (2014). Using mass spectrometry to monitor monoclonal immunoglobulins in patients with a monoclonal gammopathy. Journal of Proteome Research. 13(3), 1419-1427.

Barnidge, D.R., Dasari, S., Ramirez-Alvarado, M. (2014). Phenotyping polyclonal kappa and lambda light chain molecular mass distributions in patient serum using mass spectrometry. Journal of Proteome Research. 7;13(11), 5198-205.

Christopher H., Shikhar G.V., Gurmukh S. (2016). Audit of Use and Overuse of Serum Protein Immunofixation Electrophoresis and Serum Free Light Chain Assay in Tertiary Health Care: A Case for Algorithmic Testing to Optimize Laboratory Utilization. American Journal of Clinical Pathology. 145, 531-537.

Dispenzieri, A., Katzmann, J.A., Kyle, R.A. (2010). Prevalence and risk of progression of light-chain monoclonal gammopathy of undetermined significance: a retrospective population-based cohort study. The Lancet. 375(9727), 1721-1728.

U.S. Food & Drug Administration. (2021 March, 27). FDA Approves First Cell-Based Gene Therapy for Adult Patients with Multiple Myeloma. https://www.fda.gov/news-events/pressannouncements/fdaapproves-first-cell-based-gene-therapy-adult-patients-multiple-myeloma

Fouquet, G., Schraen, S., Faucompre, J.L. (2014). Hevylite® to monitor response to therapy in multiple myeloma. American Society of Hematology. 124(21), 20-21.

Gertz, M.A., Kyle, R.A. (1995). Hyperviscosity syndrome. Journal of Intensive Care Medicine. 10(3). 128-141.

Katzmann, J.A., Willrich, M.A.V., Kohlhagen, M.C. (2015). Monitoring IgA multiple myeloma: immunoglobulin heavy/light chain assays. Clinical Chemistry. 61(2), 360-367.

Kyle, R.A., Child, J.A., Anderson, K. (2003). Criteria for the classification of monoclonal gammopathies, multiple myeloma and related disorders: a report of the International Myeloma Working Group. British Journal of Haematology. 121(5), 749-757.

Kyle, R.A., Katzmann, J.A., Lust, J.A., Dispenzieri, A. (2002). Clinical indications and applications of electrophoresis and immunofixation. ASM Press: Washington DC.

Milani, P., Murray, D.L., Barnidge, D.R. (2017). The utility of MASS-FIX to detect and monitor monoclonal proteins in the clinic. American Journal of Hematology. 92(8), 772-779.

Mills, J.R., Barnidge, D.R., Murray, D.L. (2015). Detecting monoclonal immunoglobulins in human serum using mass spectrometry. Methods. 81, 56-65.

O’Connell, T.X., Horita, T.J., Kasravi, B. (2015). Understanding and interpreting serum protein electrophoresis. American Family Physician. 71(1), 105-112.

Tomer, M. (2021). A first-in-human study of FOR46 in patients with triple refractory Multiple Myeloma. https://www.researchgate.net/scientific-contributions/Tomer-M-Mark-38176968.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-12-30