การจัดการด้านการพัฒนาต้นแบบแชทบอทอัจฉริยะสำหรับการให้คำปรึกษานักศึกษาระดับปริญญาตรีของส่วนงานฝึกปฏิบัติงานศูนย์ที่ปรึกษาและพัฒนาอาชีพนักศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี โดยใช้เทคโนโลยีทางด้านปัญญาประดิษฐ์

ผู้แต่ง

  • พรสิริ ชาติปรีชา สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์
  • ชุติธารรัฐ อุตมะสิริเสนี มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

คำสำคัญ:

แชทบอท, ปัญญาประดิษฐ์, แอปพลิเคชันไลน์

บทคัดย่อ

การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาต้นแบบแชทบอทอัจฉริยะสำหรับบริหารจัดการด้านให้คำปรึกษานักศึกษาระดับปริญญาตรีของส่วนงานฝึกปฏิบัติงานศูนย์ที่ปรึกษาและพัฒนาอาชีพนักศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี โดยใช้เทคโนโลยีทางด้านปัญญาประดิษฐ์  พัฒนาในส่วนข้อมูลของหน่วยงานของฝึกปฏิบัติงานศูนย์ที่ปรึกษาและพัฒนาอาชีพนักศึกษา หรือเรียกว่าหน่วยงาน CCDS โดยจะนำเสนอข้อมูลด้านการบริการและข้อคำถามที่นักศึกษามีคำถาม ได้แก่ แผนการฝึกงาน 4 ปี, ตัวอย่างการเขียนรีพอร์ตฝึกงาน, ข้อมูลการเตรียมตัวฝึกงาน, ข้อมูลการลงร้าน, ข้อมูลการฝึกงานต่างประเทศและข้อมูลติดต่อเจ้าหน้าที และทำการทดสอบและแสดงผลของแชทบอท (Chatbot) ระบบนี้จะให้ข้อมูลสนทนาโต้ตอบอัตโนมัติกับผู้ใช้เชื่อมต่อกับแอปพลิเคชันไลน์ (Line Application)

            จากผลการทดลองนำโปรแกรม แชทบอท ไปให้ ผู้ใช้ทดลองจำนวน 432 คน ด้านกระบวนการติดตั้งและความเข้าใจในการใช้งานระบบ มีผลประเมินความพึงพอใจคือ 4.31 อยู่ในระดับพึงพอใจมาก ส่วนภาพรวมความพึงพอใจด้านรูปแบบและภาพลักษณ์ของเว็บ มีผลประเมินความพึงพอใจคือ 4.07 อยู่ในระดับพึงพอใจมาก ความพึงพอใจด้านการใช้งานมีผลประเมินความพึงพอใจคือ 4.04 อยู่ในระดับพึงพอใจมาก นอกจากนี้การทดสอบการทำงานของ แชทบอท  ตอบสนองความต้องการได้ถูกต้อง  ค่าเฉลี่ยของความถูกต้อง คือ 90.77 % และไม่ถูกต้องคือ 9.23 %   

Author Biographies

พรสิริ ชาติปรีชา, สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์

  • ประวัติผู้วิจัย
  •  

หัวหน้าโครงการวิจัย

ชื่อ-สกุล  (ภาษาไทย)     นางสาวพรสิริ    ชาติปรีชา

   (ภาษาอังกฤษ)   Miss. Pornsiri Chatpreecha

วัน เดือน ปีเกิด         29 สิงหาคม 2524                                

สถานที่เกิด              จ.นนทบุรี

ประวัติการศึกษา    2548 ปริญญาตรี       วท.บ.  (วิทยาการคอมพิวเตอร์) คณะสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม (เกียรตินิยมอันดับ 1)

                         2551 ปริญญาโท       วท.ม.  (วิศวกรรมซอฟต์แวร์) คณะสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม (เกียรตินิยมอันดับ 1)

สถานที่ทำงาน      สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี

                       85/1 หมู่ 2 ถนนแจ้งวัฒนะ ตำบางบางตลาด อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี

ตำแหน่ง            อาจารย์ประจำสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์

ผลงานวิจัยที่ผ่านมา     

ทุนอุดหนุนวิจัย

  • ทุนงบประมาณสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ปีการศึกษา 2563
  • การพัฒนาต้นแบบแชทบอทอัจฉริยะสำหรับให้คำปรึกษานักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี โดยใช้เทคโนโลยีทางด้านปัญญาประดิษฐ์
  • ทุนงบประมาณสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ปีการศึกษา 2562
    • การพัฒนาเว็บแอปพลิเคชันเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจในการเลือกสาขาวิชาชีพทางด้านคอมพิวเตอร์ โดยใช้เทคนิคเหมืองข้อมูลของนักศึกษาระดับปริญญาตรี กรณีศึกษา สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์
  • ทุนงบประมาณสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ ประจำปีการศึกษา 2561
    • การพัฒนาแอปพลิเคชันการบันทึกเวลาและระบบติดตามรายงานเวลาการฝึกปฏิบัติงาน ในสถานประกอบการเพื่อสนับสนุนการเรียนการสอนแบบการเรียนรู้ โดยใช้จากการทำงานเป็นฐาน
  • ทุนงบประมาณสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ ประจำปีการศึกษา 2560
    • การพัฒนาแอปพลิเคชัน สำหรับจัดเก็บข้อมูลทักษะความสามารถของนักศึกษา ระดับปริญญาตรีกรณีศึกษา สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์
  • ทุนงบประมาณสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ ประจำปีการศึกษา 2558
    • การพัฒนาโมบายแอปพลิเคชันของการจัดการปัญญาภิวัฒน์บนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์

งานวิจัยที่ได้รับการตีพมพ์

  1. พรสิริ ชาติปรีชา และ ชุติธารรัฐ อุตมะสิริเสนี. (2564). การใช้เทคนิคเหมืองข้อมูลเพื่อพัฒนาตัวแบบสำหรับทำนายทักษะดิจิทัลของ นักศึกษาระดับปริญญาตรีในยุคดิจิทัลดิสรัปชั่น, SAUNIC2021, มิถุนายน,  หน้า 791-798
  2. พรสิริ ชาติปรีชา และ ชุติธารรัฐ อุตมะสิริเสนี. (2563). โมเดลสำหรับการทำนายภาวะโรคซึมเศร้าสำหรับนักศึกษาฝึกงาน.การประชุม วิชาการระดับชาติ สหวิทยาการเอเชียอาคเนย์ 2563ครั้งที่ 7,  ออนไลน์: saunic2020.sau.ac.th, พฤษภาคม, หน้า 744-751
  3. ชุติธารรัฐ อุตมะสิริเสนี . (2562). การพัฒนาแอปพลิเคชันออนไลน์ สำหรับจัดเก็บข้อมูลทักษะความสามารถของนักศึกษา ระดับปริญญาตรี, วารสารวิชาการสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทยฯ ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 8(2), 75-90.
  4. ชุติธารรัฐ อุตมะสิริเสนี และ พรสิริ ชาติปรีชา. (2562). เทคนิคเหมืองข้อมูลสำหรับพัฒนาตัวแบบระบบสนับสนุน การตัดสินใจสำหรับทำนายทักษะด้านโปรแกรมประยุกต์ของ นักศึกษาระดับปริญญาตรี ,วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. 5(2). 84-93.
  5. ชุติธารรัฐ อุตมะสิริเสนี และ พรสิริ ชาติปรีชา. (2562). โมเดลสำหรับการทำนายภาวะโรคซึมเศร้าสำหรับนักศึกษาฝึกงาน, การประชุมวิชาการระดับชาติสหวิทยาการเอเชียอาคเนย์. 2563 ครั้งที่ 7 (น. 744-751). มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์. ไทย. สืบค้นจาก https://saunicsau.ac.th/
  6. ชุติธารรัฐ อุตมะสิริเสนี และ พรสิริ ชาติปรีชา. (2561). การพัฒนาแอปพลิเคชันเพื่อประยุกต์และ วิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบเทคนิคเหมืองข้อมูลที่เหมาะสมสำหรับทำนายผลการสอบวัดระดับความเชี่ยวชาญทางด้านไมโครซอฟต์ออฟฟิศของนักศึกษาระดับปริญญาตรี, วารสารวิชาการสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทยฯ ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 7(2) , 98-113.
  7. พรสิริ ชาติปรีชา. (2559). การพัฒนาโมบายแอพพลิเคชั่นของการจัดการปัญญาภิวัฒน์บนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ ,วารสารปัญญาภิวัฒน์, 8(1), 237-249.
  8. Pornsiri Chatpreecha ,Chadaporn Keatmanee. (2018). Productivity, and Reliability of Warehousing System. International Journal of Machine Learning and Computing. (IJMLC), 8(6).
  9. Pornsiri Chatpreecha.(2016). The Mobile Application Introduction to Information of PANYAPIWAT Institue of Management on Android operating system. Publication:   Panyapiwat Journal.
  10. Pornsiri Chatpreecha. (2015). Face Recognition Application . NAS 2015. National Science and Technology Development Agency.
  11. Pornsiri Chatpreecha and Suradet Jitprapaikulsarn.(2013), Software Process
    Improvement for Individual with Extreme Programming (SPII-XP). Publication: Agile Conference. Gaylord Palms Orlando, Florida.
  12. Pornsiri Chatpreecha. (2014). An empirical study for SPII-XP model as a software development skill Improvement for individual learner. Publication: Panyapiwat Journal.

 

 

ชุติธารรัฐ อุตมะสิริเสนี, มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

ผู้ร่วมวิจัย                                                                                                                               

ชื่อ-สกุล  (ภาษาไทย)     ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชุติธารรัฐ อุตมะสิริเสนี

     (ภาษาอังกฤษ) Asst.Prof. Chutitanrat Uttamasiriseni

วัน เดือน ปีเกิด         26 ธันวาคม 2526                                

สถานที่เกิด              อ.เมือง จ.สงขลา

ประวัติการศึกษา    2545 ปริญญาตรี       วท.บ.  (วิศวกรรมคอมพิวเตอร์) คณะสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม (เกียรตินิยมอันดับ 1)

                         2549 ปริญญาโท       วท.ม.  (เทคโนโลยีสารสนเทศ) คณะสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม (เกียรตินิยมอันดับ 1)

สถานที่ทำงาน      สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์และเทคโนโลยี
                       สำนักการศึกษาทั่วไป 85/1 หมู่ 2 ถนนแจ้งวัฒนะ ตำบางบางตลาด

                       อำเภอปากเกร็ด  จังหวัดนนทบุรี            

ตำแหน่ง           อาจารย์ประจำ กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ สำนักการศึกษาทั่วไป

ผลงานวิจัยที่ผ่านมา     

ทุนอุดหนุนวิจัย

  • ทุนงบประมาณสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ปีการศึกษา 2563
  • การพัฒนาต้นแบบแชทบอทอัจฉริยะสำหรับให้คำปรึกษานักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี โดยใช้เทคโนโลยีทางด้านปัญญาประดิษฐ์
  • ทุนงบประมาณสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ปีการศึกษา 2562
    • การพัฒนาเว็บแอปพลิเคชันเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจในการเลือกสาขาวิชาชีพทางด้านคอมพิวเตอร์ โดยใช้เทคนิคเหมืองข้อมูลของนักศึกษาระดับปริญญาตรี กรณีศึกษา สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์
  • ทุนงบประมาณสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ปีการศึกษา 2560
    • การพัฒนาแอปพลิเคชัน สำหรับจัดเก็บข้อมูลทักษะความสามารถของนักศึกษา ระดับปริญญาตรีกรณีศึกษา สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์

 

 

 

 

 

งานวิจัยที่ได้รับการตีพมพ์

  1. พรสิริ ชาติปรีชา และ ชุติธารรัฐ อุตมะสิริเสนี. (2564). การใช้เทคนิคเหมืองข้อมูลเพื่อพัฒนาตัวแบบสำหรับทำนายทักษะดิจิทัลของ นักศึกษาระดับปริญญาตรีในยุคดิจิทัลดิสรัปชั่น, SAUNIC2021, มิถุนายน,  หน้า 791-798
  2. ณิชดนีย์ ธัญพรหิรัณย์ และ ชุติธารรัฐ อุตมะสิริเสนี (2564) การพัฒนาต้นแบบระบบถังขยะไอโอทีและระบบจัดเก็บข้อมูลการทิ้งขยะแบบออนไลน์ของนักเรียนในโรงเรียนระดับประถมศึกษา,วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.7(1), มกราคม-มิถุนายน 2564 ,หน้า 54-62
  3. พรสิริ ชาติปรีชา และ ชุติธารรัฐ อุตมะสิริเสนี. (2563). โมเดลสำหรับการทำนายภาวะโรคซึมเศร้าสำหรับนักศึกษาฝึกงาน.การประชุม วิชาการระดับชาติ สหวิทยาการเอเชียอาคเนย์ 2563ครั้งที่ 7,  ออนไลน์: saunic2020.sau.ac.th, พฤษภาคม, หน้า 744-751
  4. ชุติธารรัฐ อุตมะสิริเสนี .(2562). การพัฒนาแอปพลิเคชันออนไลน์ สำหรับจัดเก็บข้อมูลทักษะความสามารถของนักศึกษา ระดับปริญญาตรี, วารสารวิชาการสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทยฯ ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 8(2) , 75-90.
  5. ชุติธารรัฐ อุตมะสิริเสนี และ พรสิริ ชาติปรีชา. (2562). เทคนิคเหมืองข้อมูลสำหรับพัฒนาตัวแบบระบบสนับสนุน การตัดสินใจสำหรับทำนายทักษะด้านโปรแกรมประยุกต์ของ นักศึกษาระดับปริญญาตรี ,วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. 5(2) 84-93.
  6. ชุติธารรัฐ อุตมะสิริเสนี และ พรสิริ ชาติปรีชา. (2562). โมเดลสำหรับการทำนายภาวะโรคซึมเศร้าสำหรับนักศึกษาฝึกงาน, การประชุมวิชาการระดับชาติสหวิทยาการเอเชียอาคเนย์. 2563 ครั้งที่ 7 (น. 744-751). มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์. ไทย. สืบค้นจาก https://saunicsau.ac.th/
  7. ชุติธารรัฐ อุตมะสิริเสนี และ พรสิริ ชาติปรีชา. (2561). การพัฒนาแอปพลิเคชันเพื่อประยุกต์และวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบเทคนิคเหมืองข้อมูลที่เหมาะสมสำหรับทำนายผลการสอบวัดระดับ
  8. ความเชี่ยวชาญทางด้านไมโครซอฟต์ออฟฟิศของนักศึกษาระดับปริญญาตรี, วารสารวิชาการ
    สถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทยฯ ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    . 7(2) ,98-113.

References

เกวลี จันทร์วงษ์. (2564). Conversational Flow คืออะไร ทำไมถึงนำมำใช้ใน Chatbot? สืบค้นจาก https://www. medium.comconvolab/conversationalflowคืออะไร-ทำไมถึงนำมาใช้ใน-chatbotaa9bff5eb2ff.

จักรินทร์ สันติรัตนภักดี. (2561). การตลาดออนไลน์และบริการลูกค้าด้วยแชทบอท กรณีศึกษา: การใช้ Chatfuel ปฏิสัมพันธ์กับลูกค้าผ่านเมสเซนเจอร์. วารสารศรีปทุมปริทัศน์ ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 10(1), 71-87.

จิรันดร บู๊ฮวดใช้ (28 – 29 กันยายน 2560). แนวทางการพัฒนาต้นแบบแชทบอทสําหรับให้คําแนะนําระบบขอทุนอุดหนุนการวิจัยงบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม. งานประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 9 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม, 9, 1906-1903, นครปฐม, ประเทศไทย

ชลณัฏฐ์ พูนชัฏกาญจน์ (2560). เสริมศักยภาพองค์กร ด้วยการใช้เทคโนโลยี Chatbot. สืบค้นจาก https://www. digitalagemag.com/แชทบอท-แก้ปัญหา-การขาดคนทํางาน-สําหรับ-smes.

ชุมพล โมฆรัตน์, วรางคณา อุ่นชัย, และ สุกัญญา มารแพ้ (2559). พัฒนาแอปพลิเคชันแชทบอทเพื่อการวินิจฉัยโรคเบาหวานด้วยออนโทโลยี. การประชุมวิชาการระดับนานาชาติทางด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์และวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ครั้งที่ 20, มหาวิทยาลัยแม่โจ้, 519-524, โรงแรมเชียงใหม่ออคิด, เชียงใหม่, ประเทศไทย.

ธนภัทร บุศราทิศ. (2559). อิทธิพลของการสื่อสารเนื้อหาโปรแกรมลูกค้าสัมพันธ์ผ่านสื่อ Chatbot ต่อระดับการมีส่วนร่วมของลูกค้า. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์].

ประชาชาติธุรกิจ. จีนเปิดตัว “ผู้ประกาศข่าว AI” คนแรกของโลก! หนุนรายงานข่าว 24 ชั่วโมง ลดต้นทุนคนจริง. สืบค้นจาก https://www. prachachat.net/world-news/news-247476.

ปรีชา ตั้งเกรียงกิจ (2563). การประยุกต์ระบบปัญญาประดิษฐ์ตอบแชทอัตโนมัติเพื่อการเรียนรู้. Royal Thai Air Force Medical Gazette, 66(2).

รัตนาวลี ไม้สัก และ จิราวรรณ แก้วจินดา. (2563). แอปพลิเคชันแชตบอตเพื่อการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและวัฒนธรรม. รายงานการวิจัยคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร.

วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. ปัญญาประดิษฐ์. สืบค้นจาก https://th.wikipedia.org/wiki/ปัญญาประดิษฐ์.

สิทธิพล พรรณวิไล. (2560). มาเริ่มต้นเขียน LINE Bot ด้วย Messaging API กัน. สืบค้นจาก https://nuuneoi.com /blog/blog.php?read_id=882.

Anak Mirasing (2560). Chatbot คืออะไร ดียังไง มารู้กันใน 10 นาที. สืบค้นจาก https://medium.com/@igroomgrim/ chatbot-คืออะไร-ดียังไง-มารู้กันใน-10-นาที-3e6165dd34b8.

AYTM, Opus Research, & Nuance Communication, Inc.(2016). The Conversational Interface Preferences survey.

Kritsuthikul N. , Thammano, A. , & Supnithi, T. (2006, October 8-11). English-Thai Example-Based Machine Translation using n-gram model. IEEE International Conference on Systems, Man, and Cybernetics (ICSMC 2006 / IEEE SMC 2006), Grand Hotel Taipei, Taipei, Taiwan.

Pakorn Ngammanussiri. แนะนำ DIALOGFLOW สำหรับการสรา้ง CHATBOT. สืบค้นจาก https://blog.tangerine.co. Th/2019/04/29/แนะนำ-dialogflow-สำหรับการสร้าง-chatbot.

Shrutika N. Shirsat, Taslima J. Khan, Payal A. Wable, Dhanashree B. Mandalik, & Prof. M. T. Jagtap. (2022). Healthcare Chatbot system using multinomial naive Bayes algorithm. IJARIIE, 8(2), 1826-1831.

Smys, S. , & Haoxiang, W. (2021). Naive Bayes and Entropy based Analysis and Classification of Humans and Chat Bots. IRO Journals 3(1), 40-49.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-06-29

How to Cite

ชาติปรีชา พ. ., & อุตมะสิริเสนี ช. . (2024). การจัดการด้านการพัฒนาต้นแบบแชทบอทอัจฉริยะสำหรับการให้คำปรึกษานักศึกษาระดับปริญญาตรีของส่วนงานฝึกปฏิบัติงานศูนย์ที่ปรึกษาและพัฒนาอาชีพนักศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี โดยใช้เทคโนโลยีทางด้านปัญญาประดิษฐ์. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธนบุรี, 8(1), 28–43. สืบค้น จาก https://ph03.tci-thaijo.org/index.php/trusci/article/view/2818