การลดของเสียในกระบวนการขึ้นรูปพลาสติกด้วยความร้อนโดยใช้เทคนิคซิกซ์ ซิกม่า : กรณีศึกษาโรงงานผลิตบรรจุภัณฑ์แห่งหนึ่ง
คำสำคัญ:
การลดของเสีย, การขึ้นรูปพลาสติก, ิกซ์ซิกม่าบทคัดย่อ
วัตถุประสงค์วิจัยเพื่อหาวิธีการลดจำนวนของเสียประเภทงานบางและงานรั่ว ในกระบวนการขึ้นรูปพลาสติกด้วย ความร้อนของงานที่ผลิตจากเครื่องรุ่น NEW 1205 ดำเนินการวิจัยด้วยหลักการ DMAIC ของซิกซ์ซิกม่าและการทดลอง แฟคทอเรียลแบบเต็มทั่วไป ผลการวิจัยพบว่า การตั้งอุณหภูมิความร้อนโดยการตั้งอุณหภูมิความร้อนบน ตั้งแต่ 240-330 oC ความร้อนล่าง ตั้งแต่ 230-320 oC และระยะเวลาในการขึ้นรูป 2 วินาที ส่งผลให้ของเสียประเภทงานบางและงำนรั่วลดลง ความสามารถของกระบวนการเดิม ≥1.17 เปลี่ยนเป็น ≥1.33 และระดับซิกม่าเดิม ≥3.5 เปลี่ยนเป็น ≥4 ลดต้นทุนของเสีย จากเดิม 66,797 บาท เหลือเพียง 10,320 บาท คิดเป็นร้อยละ 15.45
References
กรรณิการ์ เบญจรัฐพงศ์. (2558). การประยุกต์ใช้ซิกซ์ซิกม่าในกระบวนการผลิตไพวอต. การค้นคว้าอิสระ หลักสูตร วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนางานอุตสาหกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ปัญญา ลองนิล. (2557). การปรับปรุงกระบวนการฉีดพลาสติกโดยใช้เทคนิคซิกส์ ซิกม่า : กรณีศึกษาโรงงานผู้ผลิตและประกอบแผงวงจรรวม. การค้นคว้าอิสระ วิชาเอกการจัดการวิศวกรรมธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
วชิรพงษ์ สาลีสิงห์. (2549). ปฏิวัติกระบวนการทำงานด้วยเทคนิค Six Sigma. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ศิริวัฒนาอินเตอร์พริ้นท์.
เสน่ห์ไวย ครุทธ. (2558). การลดของเสียจากกระบวนการหยอดกาวแบบกึ่งอัตโนมัติ โดยวิธีการซิกซ์ ซิกม่า. การค้นคว้าอิสระหลักสูตร วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนางานอุตสาหกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
โสภิดา ท้วมมี. (2550). การลดปริมาณของเสียในกระบวนการผลิตพลาสติกแผ่นโดยการประยุกต์ใช้การออกแบบการทดลอง : กรณีศึกษา บริษัทในอุตสาหกรรมผลิตพลาสติก. หลักสูตรวิศวอุตสาหการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
Issa Bass. (2007). Six Sigma Statistics with Excel and Minitab. United States of America : The McGraw-Hill Companies.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.