การปรับปรุงประสิทธิภาพกระบวนการผลิตของชิ้นส่วนยานยนต์ เพื่อทำการลดต้นทุน

ผู้แต่ง

  • บัณฑิต อินทรีย์มีศักดิ์
  • พิพัฒน์ เลิศโกวิทย์ มหาวิทยาลัยธนบุรี

คำสำคัญ:

แม่พิมพ์, เครื่องมือคุณภาพ 7 อย่าง, ทฤษฎี ECRS, การวิเคราะห์ Why Why Analysis

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการลดต้นทุนต่างๆในด้านการผลิต หรือ ลดค่าใช้จ่ายทางด้านแรงงานลง จึงได้มีการหาทางแก้ไขและปรับปรุงขั้นตอนกระบวนการผลิต โดยขั้นตอนการดำเนินการแก้ไข เริ่มจากขั้นตอนการศึกษา และวิเคราะห์กระบวนการผลิตชิ้นงาน PLATE 20Y-06 ได้ทำการศึกษาวิเคราะห์หาแนวทางการปรับปรุงการผลิต โดยใช้เครื่องมือ 7 QC Tools, ECRS และ  Why Why Analysis จากนั้นจึงทำการปรับปรุงขั้นตอนการผลิต โดยเริ่มจากวิเคราะห์หาแนวทางการปรับปรุงการผลิตการตรวจสอบต้นทุนการผลิต แผนภูมิการผลิต รวมถึงการออกแบบกระบวนการผลิตใหม่ และประสานงานกับหน่วยงานในบริษัท ในการออกแบบผลิต และทดสอบแม่พิมพ์ และติดตามผล                                           ผลการวิจัยพบว่า การลดต้นทุน ลดเวลาในการผลิต และลดขั้นตอนในการผลิตและขั้นตอนในการดำเนินงาน ของชิ้นงานเหล็กแผ่น (PLATE 20Y-06) ผู้ดำเนินงานได้ทำการศึกษาวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาและแนวทางการแก้ไขด้วยหลักการและเครื่องมือควบคุมคุณภาพ (7 QC Tools), ECRS และ  Why Why Analysis ส่งผลให้สามารถลดต้นทุนได้ จาก 149.68 บาทต่อชิ้น เป็น 107.65 บาทต่อชิ้น หรือลดลง 42.03 บาท ลดเวลาในการผลิต จาก 21.35 นาทีต่อชิ้น เหลือเพียง 14.88 นาทีต่อชิ้น รวมถึงลดขั้นตอนการผลิตจากเดิม 7 ขั้นตอน เหลือเพียง 4 ขั้นตอน

References

ชญานุตน์ ภูนาเถร ชลลดา ทองคำ และ สุพรรณี อึ้งปัญสัตวงศ์. (2558). การผลิตแบบลีนในโรงงานอุตสาหกรรม. [วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยขอนแก่น]

แซนด์วิค ประเทศไทย จำกัด (2565). การเจาะรู. สืบค้นจาก https://www.sandvik.coromant.com/th-th/knowledge/ drilling.

จันทร์ศิริ สิงห์เถื่อน. (2551). การวิเคราะห์กระบวนการ. สืบค้นจาก https://pirun.ku.ac.th/~fengcsr/courses/ 2008_01/206341/ch8.pdf.

อภิชาติ ชยานุภัทร์กุล. (2551). งานพับโลหะแผ่น. สืบค้นจาก https://www.psstainlessthailand.com/.

บริษัท ไชยเจริญเทค จำกัด. (2566). การตัดโลหะด้วยกระบวนการตัดด้วยเลเซอร์. สืบค้นจาก https://www.chi.co.th /article/article-844/.

บริษัท ทีเอ็มที สตีล จำกัด (มหาชน). (2565). วิธีการผลิตเหล็กแผ่นให้มีความเรียบและคงความเรียบอยู่เสมอ. สืบค้นจาก https://www.tmtsteel.co.th/files/Technical% 20Information.pdf.

ณัฐพงษ์ คงประเสริฐ. (2562). Why Why Analysis. สืบค้นจาก http://qd.swu.ac.th/Portals/2077/Why% 20Why%20Anlysis.pdf?ver=2562-05-24-082545-380.

ไพโรจน์ ด้วงนคร และ ดร.วิทยา อินทร์สอน. (2559). การเพิ่มผลผลิต. สืบค้นจาก http://www.thailandindustry. com/indust_newweb/onlinemag_preview.php?cid=461.

ประเสริฐ อัครประถมพงศ์. (2552). การลดความสูญเปล่า ด้วยหลักการ ECRS. สืบค้นจาก https://cpico. wordpress.com/.

รัตติยา รายณะสุข. (2555). การปรับปรุงกระบวนการผลิตของโรงงานประกอบชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์. [วิทยานิพนธ์ปริญญาวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง]

วันเฉลิม วรรณสถิตย์. (2559). เครื่องมือคุณภาพ 7 ชนิด (7 QC Tools). สืบค้นจาก http://econs.co.th/index.php/ 2016/07/29/7-qc-tools/.

ห้องปฏิบัติการการผลิตและอุตสาหกรรมอัตโนมัติ (2557). การขึ้นรูปโลหะแผ่น. สืบค้นจาก http://eng.sut.ac.th/me/ 2014/document/LabManuIndAuto/C.pdf.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-06-29

How to Cite

อินทรีย์มีศักดิ์ บ. ., & เลิศโกวิทย์ พ. (2024). การปรับปรุงประสิทธิภาพกระบวนการผลิตของชิ้นส่วนยานยนต์ เพื่อทำการลดต้นทุน. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธนบุรี, 8(1), 44–59. สืบค้น จาก https://ph03.tci-thaijo.org/index.php/trusci/article/view/2498