การศึกษาหาสภาวะที่เหมาะสมในการบำบัดน้ำเสียจากกระบวนการผลิตโลชั่นทากันยุง
คำสำคัญ:
กระบวนการโคแอกกูเลชัน, การบำบัดน้ำเสีย, สารโคแอกกูแลนท์, สารโคแอกกูแลนท์เอดบทคัดย่อ
งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาหาสภาวะที่เหมาะสมในการบำบัดน้ำเสียจากกระบวนการผลิตโลชั่นทากันยุง โดยใช้กระบวนการโคแอกกูเลชัน ศึกษาโดยใช้สารละลายไอร์ออน (II) ซัลเฟต (FeSO4) และสารละลายอะลูมิเนียมซัลเฟต (สารส้ม) เป็นสารสร้างตะกอน (สารโคแอกกูแลนท์) ใช้พอลิเมอร์ประจุลบ (Anionic Polymer) และพอลิเมอร์ประจุบวก (Cationic Polymer) เป็นสารช่วยสร้างตะกอน (สารโคแอกกูแลนด์แอด) จากผลการทดลองพบว่าสภาวะที่เหมาะสมในการตกตะกอน คือ ที่ pH เท่ากับ 11 ปริมาณสารละลายไอร์ออน (II) ซัลเฟต (FeSO4) เท่ากับ 500 มิลลิกรัมต่อลิตร และ ปริมาณพอลิเมอร์ ประจุลบ (Anionic Polymer) เท่ากับ 1.8 มิลลิกรัมต่อลิตร เวลาที่เหมาะสมในการตกตะกอน คือ 40 นาที และประสิทธิภาพในการบำบัด BOD, COD, และ ไขมันและน้ำมัน (O/G) ได้ร้อยละ 40.65, 61.20 และ 60.00 ตามลำดับ
References
กรมควบคุมมลพิษ. (2545). น้ำเสียชุมชนและระบบบำบัดน้ำเสีย. กรุงเทพมหานคร: กรมควบคุมมลพิษ.
กรมโรงงานอุตสาหกรรม. (2567). คุณลักษณะของน้ำทิ้งที่ระบายออกจากโรงงาน. สืบค้นจาก https: //www.diw.go.th.
กรมโรงงานอุตสาหกรรม. (2549). ตำราระบบบำบัดมลพิษน้ำ. กรุงเทพมหานคร: กรมโรงงานอุตสาหกรรม.
ณรงค์ฤทธิ์ กิ่งไทยสงค์. (2541). การปรับปรุงคุณภาพน้ำเสียจากกระบวนการผลิตน้ำยาปรับผ้านุ่มด้วยกระบวนการทางเคมี. [วิทยานิพนธ์วิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต]. ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
นฎาภัสส์ คุ้มกลาง, กีต้า ทรัพย์อเนก, น้ำอ้อย ปัญญา, ดารานัย รบเมือง และ วลัยพร สินสวัสดิ์. (2563). การศึกษาประสิทธิภาพผลิตภัณฑ์กันยุงจากสารสกัดธรรมชาติ 5 ชนิด. โครงการวิจัยจากเงินกองทุนส่งเสริมงานวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ.
วิริยะอาหารสัตว์./(2567/มกราคม/1). แคลเซียมไฮดรอกไซด์ ราคา./ Facebook. https://www.facebook.com/p/วิริยะอาหารสัตว์.
สำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (2558). คู่มือวิชาการโรคติดเชื้อเดงกีและโรคไข้เลือดออกเดงกีด้านการแพทย์และสาธารณสุข. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์อักษรกราฟฟิคแอนด์ดีไซน์.
สำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (2558). โรคไข้เลือดออกสำหรับประชาชนและเครือข่ายภาคประชาสังคม. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.
อิสวัต แสงมณี, กรกฏ เพ็ชร์หัสณะโยธิน และ สุธน เสถียรยานนท์. (2552). สภาวะที่เหมาะสมสําหรับการบำบัดน้ำเสียจากโรงงาน ผลิตชิ้นส่วนผลิตอะไหล่รถยนต์. ก้าวทันโลกวิทยาศาสตร์, 9(1), 143-151.
Aloui, F. , Kchaou, S. , & Sayadi, S. (2009.) Physicochemical treatments of anionic surfactants wastewater: Effect on aerobic biodegradability. Journal of Hazardous Materials, 164, 353–359.
Boroski, M. , Rodrigues, A. C. , Garcia, J. C. , Sampaio, L. C. , Nozaki, J. , & Hioka, N. (2009). Combined electrocoagulation and TiO2 photoassisted treatment applied to wastewater effluents from pharmaceutical and cosmetic industries. Journal of Hazardous Materials, 162, 448–454.
Chemrich./(2567/มกราคม/1). ไอร์ออน (II) ซัลเฟต ราคา./ https://www.lazada.co.th/shop/chemrich.
El-Gohary, F. , Tawfik, A. , & Mahmoud, U. (2010). Comparative study between chemical coagulation/ Precipitation (C/P) versus coagulation/dissolved air flotation (C/DAF) for pre-treatment of personal care products (PCPs) wastewater. Desalination, 252, 106–112.
Esplugas, S. , Bila, D. M. , Krause, L. G. , & Dezotti, M. (2007). Ozonation and advanced oxidation technologies to remove disrupting chemicals (EDCs) and pharmaceuticals and personal care products (PPCPs) in water effluents. Journal of Hazardous Materials, 149, 631-642.
Namsaithai./(2567/มกราคม/1). แอนไอออนิกพอลิเมอร์ ราคา./ https://www.namsaithai.com/shop/category
Naumczyk, J. , Bogacki, J. , Marcinowski, P. , & Kowalik, P. (2014). Cosmetic wastewater treatment by coagulation and advanced oxidation processes. Environmental Technology, 35(5), 541-548.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 korakoj pethassanayothin, ณัฐวุฒิ รัตนาธรรมวัฒน์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.