วิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนการปลูกข้าวเจ้านาปีในจังหวัดกำแพงเพชร ปีการผลิต 2553/2554
Keywords:
ต้นทุนและผลตอบแทน, ข้าวเจ้านาปี, ประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ, Cost and Return, Rainy season rice farming, Technical Efficiency, Economic EfficiencyAbstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาถึงสภาพทั่วไปของเกษตรกร ต้นทุน ผลตอบแทน และประสิทธิภาพการผลิตจากการปลูกข้าวเจ้านาปีของเกษตรกรในจังหวัดกำแพงเพชร รวมทั้งปัญหาและอุปสรรคต่างๆ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ เกษตรกรที่ปลูกข้าวเจ้านาปีในจังหวัดกำแพงเพชรจำนวน 400 ตัวอย่าง และนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์เชิงพรรณนาและวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงซ้อนด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปเพอื่ การวิจัยทางสงั คมศาสตร์
ผลการศึกษาตน้ ทนุ และผลตอบแทนการปลกู ขา้ วเจา้ นาป ีพบวา่ พนื้ ทขี่ นาดเลก็ ระหวา่ ง 1 - 10 ไร ่ มตี น้ ทนุ เฉลยี่ เทา่ กบั 4,692.77 บาทตอ่ ไร่
ผลผลิตเฉลี่ย 780.91 กิโลกรัมต่อไร่ ผลตอบแทนเฉลี่ย 1,984.01 บาทต่อไร่ พื้นที่ขนาดกลางระหว่าง 11 - 20 ไร่ มีต้นทุนเฉลี่ยเท่ากับ4,827.56 บาทต่อไร่ ผลผลิตเฉลี่ย 777.48 กิโลกรัมต่อไร่ ผลตอบแทนเฉลี่ย 1,866.54 บาทต่อไร่ และพื้นที่ขนาดใหญ่ 21 ไร่ขึ้นไปมีต้นทุนเฉลี่ยเท่ากับ 5,650.20 บาทต่อไร่ ผลผลิตเฉลี่ย 766.65 กิโลกรัมต่อไร่ ผลตอบแทนเฉลี่ย 1,246.65 บาทต่อไร่
ผลการวเิ คราะหฟ์ งั กช์ นั การผลติ ขา้ วเจา้ นาปขี องเกษตรกร ปรากฏวา่ มปี จั จัยการผลิต 4 ชนดิ คือ คา่ ปยุ๋ เคมี ชวั่ โมงแรงงานการดแู ลและจัดการ
และคา่ ยาปราบศัตรพู ชื มนี ยั สำคัญทางสถติ ิทรี่ ะดับความเชอื่ มนั่ รอ้ ยละ 99 และจำนวนเมล็ดพนั ธุ์ มนี ยั สำคัญทางสถติ ิทรี่ ะดับความเชอื่ มนั่ รอ้ ยละ
95 และเมอื่ พิจารณาคา่ สัมประสทิ ธกิ์ ารตัดสนิ ใจทปี่ รบั คา่ แล้ว ซงึ่ มคี า่ เท่ากับ 0.938 การวิเคราะหป์ ระสิทธภิ าพทางเทคนคิ การปลกู ขา้ วเจา้ นาปี
พบวา่ ผลผลิตเพมิ่ จากการใชป้ จั จัยการผลติ ทงั้ 4 ชนดิ แตกตา่ งกนั เมอื่ กำหนดใหป้ จั จัยอนื่ ๆ คงที่ถา้ มกี ารเพมิ่ การใชแ้ รงงานการดูแลและจัดการ
1 วันทำงาน จะทำให้ผลผลิตข้าวเจ้านาปีเพิ่มขึ้น 54.745 กิโลกรัม ถ้าเพิ่มการให้ยาปราบศัตรูพืช 1 บาท จะทำให้ผลผลิตข้าวเจ้านาปีเพิ่มขึ้น0.946 กิโลกรัม ถ้าเพิ่มค่าปุ๋ยเคมี 1 บาท จะทำให้ผลผลิตข้าวเจ้านาปีเพิ่มขึ้น 0.361 กิโลกรัม และถ้าเพิ่มจำนวนเมล็ดพันธุ์ 1 กิโลกรัมจะทำให้ผลผลิตข้าวเจ้านาปีเพิ่มขึ้น 0.00812 กิโลกรัม ส่วนการวิเคราะห์ประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจการปลูกข้าวเจ้านาปี พบว่า อัตราส่วนมูลค่าเพิ่มหน่วยสุดท้ายของผลผลิตข้าวเจ้านาปีที่เกิดจากการใช้ปัจจัย จำนวนเมล็ดพันธุ์ ค่าปุ๋ยเคมี ชั่วโมงแรงงานการดูแลและจัดการและค่ายาปราบศัตรูพืช มีค่าเท่ากับ 0.0029, 0.26, 2.96 และ 6.15 แสดงว่าในกระบวนการปลูกข้าวเจ้านาปี เกษตรกรสามารถเพิ่มชวั่ โมงแรงงานการดแู ลและจัดการ และคา่ ยาปราบศัตรพู ืช ไดอ้ กี เพอื่ เป็นการเพมิ่ ผลผลิตขา้ วเจ้านาปใี หสู้งขนึ้ และไดรั้บกำไรจากการเพาะปลูกสูงขนึ้ ส่วนจำนวนเมล็ดพันธุ์ และค่าปุ๋ยเคมี ในกระบวนการปลูกข้าวเจ้านาปี เกษตรกรมกี ารใช้จำนวนเมล็ดพนั ธุ์และค่าปุ๋ยเคมีมากเกนิ ความ
จำเปน็ ควรลดจำนวนเมล็ดพนั ธุ์และค่าปยุ๋ เคมลี งจะทำให้ต้นทนุ การผลิตลดลง ส่งผลให้ผลตอบแทนทเี่ กษตรกรได้รบั เพิ่มขึ้นผลการศึกษาปัญหาอุปสรรคที่สำคัญ คือ ค่าจ้างแรงงานที่สูง ปัญหาโรคและแมลงรบกวน ข้าวที่ขายได้มีราคาต่ำ ส่วนความต้องการความช่วยเหลือที่สำคัญ คือ ความช่วยเหลือในการลดต้นทุนปุ๋ยเคมี และความช่วยเหลือในการเพิ่มราคาผลผลิตข้าว
The study aims at investigating the general profile of agriculturists, cost, profit and the economic efficiency of the annual rice cropping in agriculturists who have grown rice in Kamphaeng Phet Province as well as problems and obstacles concerned. The number of samples in the study consists of 400 rice agriculturists in Kamphaeng Phet Province while the data derived has been analyzed in
descriptive and multiple linear regression formats with the application of software package of social science research.
The results representing the figures of average cost and average profit for cultivating plots of 1 - 10 rais, 11 - 20 rais, and 21 rais or more are as followed: 4,692.77 baht. - 780.91 kg. - 1,984.01 baht. Per Rai; 4,827.56 baht. - 777.48 kg. - 1,866.54 baht. Per Rai; 5,650.20 baht. - 766.65 Kg. - 1,246.65 Baht. Per Rai respectively.
The analysis of production function shows that those four productive factors of chemical fertilizer, operator’s labor and management,
and chemical substance have been statistical significance level of this research was 99% and number of seeds have been statistical
significance level of this research was 95% while the adjusted coefficient was 0.938. The analysis of technical efficiency of the
season rice production has revealed that the increases result from these four factors are different, when other factors are constant. an
increase in operator’s labor and management (Hr.) by one manday increased the rice output by 54.745 kilograms; an increase in
pesticides by one baht increased the rice output by 0.946 kilograms; an increase in chemical fertilizer by one baht increased the rice
output by 0.361 kilograms; an increase in number of seeds by one kilogram increased the rice output by 0.00812 kilograms. The analysis of economic efficiency revealed the ratios of marginal value product of rice production to unit prices of the number of seeds,
chemical fertilizer, operator’s labor and management (Hr.) and cultivation as well as pesticides are 0.0029, 0.26, 2.96 and 6.15.
In the process of growing rice show that the agriculturists can increased operator’s labor and management (Hr.) and cultivation for
increased the rice output and increased benefit. For the number of seed and chemical fertilizer, in the process of growing rice the
agriculturists used the number of seeds and chemical fertilizer more than they need. The agriculturists should decrease the number of
seeds and chemical fertilizer for making production costs lower as a result, agriculturists have increased average profit for cultivating.
Prime problems and obstacles found are high wages, diseases and insects, and low prices for crops. Helps needed are lower prices of
fertilizers and higher prices of crops.
Downloads
Published
Issue
Section
License
Copyright (c) 2012 Naresuan University Journal: Science and Technology
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial 4.0 International License.