การขยายพันธุ์ผักพื้นบ้านบางชนิดด้วยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อในตำบลนานกกก อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์

Authors

  • Ratchanee Petchang Department of Biology, Faculty of Science and Technology, Uttaradit Rajabhat University

Keywords:

การพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ, ผักพื้นบ้าน, tissue culture, local plants

Abstract

ศึกษาการฟอกฆ่าเชอื้ ที่เหมาะสม ความเข้มข้นของสารควบคุมการเจริญเติบโตต่อการเพมิ่ จำนวนยอด การชักนำใหเ้ กิดราก และการย้ายปลูกในธรรมชาติของผักพื้นบ้าน 6 ชนิด ได้แก่ ดีกระทิง (Choresthes lanceolaria (T.And.) B.Han.) กระเฉดต้น (Neptunia ef. Jarania) ขลู่ (Pluchea indica Linn.) ผักหวานบ้าน (Sauropus androgynus Merr.) กุ่มบก (Crateva adansonii Dc. ssp.) และ มะรุม (Moringa oleifera Lank.) โดยนำส่วนปลายยอดมาทำการฟอกฆ่าเชื้อในสารละลายคลอรอกซ์ความเข้มข้นและระยะเวลาต่างๆ จากนั้นนำมาเพาะเลี้ยงในอาหาร MS ที่เติม BA ในความเข้มข้น 0, 0.5, 1, 1.5, 2, 3 และ 5 มก./ล. เป็นเวลา 6 สัปดาห์ แล้วชักนำให้เกิดรากในอาหาร MS ที่เติม NAA ในความเข้มข้น 0, 0.5 และ 1 มก./ล. เป็นเวลา 4 สัปดาห์ แล้วนำออกปลูก พบว่าวิธีการฆ่าเชื้อที่เหมาะสม คือ การใช้สารละลายคลอรอกซ์ 15% นาน 7 นาที ตามด้วยสารละลายคลอรอกซ์ 10% นาน 5 นาที มีเปอรเ์ ซ็นต์การปลอดเชอื้ 70-75% (71.66 2.58)
และมีการรอดชีวิต 80-90% (85.83 4.92) การเพิ่มจำนวนยอดและความยาวของยอด พบว่า มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ p 0.05 ในพืชทั้ง 6 ชนิด ดังนี้ ดีกระทิง คือสูตร MS ที่เติม BA ความเข้มข้น 2 มก./ล. มียอดเฉลี่ยมากที่สุด (4.00 2.12 ยอด) และสูตร MS ที่เติม BA ความเข้มข้น 1 มก./ล.ทำให้ความยาวเฉลี่ยมากที่สุด (3.68 0.40 ซม.) กระเฉดต้น คือ สูตร MS ที่เติม BA ความเข้มข้น 5 มก./ล. มียอดเฉลี่ยมากที่สุด (5.40 1.14 ยอด) และสูตร MS ที่เติม BA ความเข้มข้น 3 มก./ล. ทำให้ความยาวเฉลี่ยมากที่สุด (3.80 1.52 ซม.) ขลู่ คือ สูตร MS ที่เติม BA ความเข้มข้น 1.5 มก./ล. มียอดเฉลี่ยมากที่สุด (24.20 2.34 ยอด) และสูตร MS ที่เติม BA ความเข้มข้น 1 มก./ล. ทำให้ความยาวเฉลี่ยมากที่สุด (3.56 2.91 ซม.) ผักหวานบ้าน คือ สูตร MS ที่เติม BA ความเข้มข้น 1 มก./ล. มียอดเฉลี่ยมากที่สุด (7.66 0.89 ยอด) และความยาวเฉลี่ยมากที่สุด (5.40 1.12 ซม.) กุ่มบก คือ สูตร MS ที่เติม BA ความเข้มข้น 5 มก./ล. มียอดเฉลี่ยมากที่สุด (5.00 0.70 ยอด) และความยาวเฉลี่ยมากที่สุด (4.38 0.42 ซม.) และมะรุมคือสูตร MS ที่เติม BA ความเข้มข้น 0.5 มก./ล. มียอดเฉลี่ยมากที่สุด (11.80 2.38 ยอด) และมีความยาวเฉลี่ยมากที่สุด (2.76 0.20 ซม.) เช่นกัน ส่วนการชักนำให้เกิดราก พบว่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่p 0.05 ดังนี้ ดีกระทิง กระเฉดต้นและมะรุม คือ สูตรอาหาร MS ที่เติม NAA ความเข้มข้น 0.5 มก./ล. ทำให้มีรากเฉลี่ยมากที่สุด (5.50 1.17, 4.20 1.98 และ 4.85 1.61 ราก ตามลำดับ) ส่วนขลู่และผักหวานบ้านคือสูตร MS ที่ไม่เติมฮอร์โมน มีรากเฉลี่ยมากที่สุด (8.10 2.02 และ 6.00 1.56 ราก ตามลำดับ) และกุ่มบก คือ สูตร MS ที่เติม NAA ความเข้มข้น 1 มก./ล. มีรากเฉลี่ยมากที่สุด (3.60 1.26 ราก) จากนั้นนำต้นปลอดเชื้อออกปลูกภายนอก โดยใช้สแฟกนัม มอสส์ จะมีเปอร์เซ็นต์การรอดชีวิตสูงถึง 70-100% (85.83 12.81)

 

The effects of surface sterilization, plant growth regulator concentrations on shoot multiplication and root induction of Choresthes
lanceolaria (T.And.) B.Han., Neptunia ef. Jarania., Pluchea indica Linn., Sauropus androgynus Merr., Crateva adansonii Dc. ssp.
and Moringa oleifera Lank. were investigated. The apical buds were surface sterilized by Clorox with various durations and cultured
on MS media supplemented with 0, 0.5, 1, 3 and 5 mg/l BA after 6 weeks. Root induction was investigated on MS media supplemented with 0, 0.5, 1 mg/l NAA for 4 weeks. The result showed that using 15 and 10% Clorox for 7 and 5 minutes were appropriately sterilized method because of there were showing 70-75% (71.66 2.58) sterility and 80-90% (85.83 4.92) survival. The number of shoot induction were significantly different among the treatments (p 0.05). The result showed that C. lanceolaria obtained the highest shoot number (4.00 2.12 shoots) on MS media supplemented with 2 mg/l BA and the highest length (3.68 0.40 cm) on MS medium supplemented with 1 mg/l. BA. N. ef. Jarania obtained the highest shoot number (5.40 1.14 shoots) on MS medium supplemented with 5 mg/l BA and the highest length (3.80 1.52 cm) on MS medium supplemented with 3 mg/l BA. P. indica obtained the highest shoot number (24.20 2.34 shoots) on MS media supplemented with 1.5 mg/l BA and the highest length (3.56 2.91 cm) on MS medium supplemented with 1 mg/l BA. S. androgynus obtained the highest shoot number (7.66 0.89 shoots) on MS medium supplemented with 1 mg/l BA and the highest length (5.40 1.12 cm) on MS medium added with 1 mg/l BA. C. adansonii obtained the highest shoot number (5.00 0.70 shoots) and the highest length (4.38 0.42 cm) on MS medium added with 5 mg/l BA. and M. oleifera showed the highest shoot number (11.80 2.38 shoots) and the highest length (2.76 0.20 cm) on MS medium supplemented with 0.5 mg/l BA. Root induction of apical buds cultured on MS medium with NAA added for 4 weeks, were significantly different among the treatments (p 0.05). The root numbers of 5.50 1.17, 4.20 1.98 and 4.85 1.61 were induced on MS medium supplemented with 0.5 mg/l NAA for C. lanceolaria., N. ef. Jarania. and M. oleifer.,
respectivety. The root numbers of 8.10 2.02 and 6.00 1.56 were induced on MS medium for P. indica. and S. androgynu. The
root numbers of 3.60 1.26 roots were induced on MS medium containing 1 mg/l NAA for C. adansonii. All species showed 70-
100% (85.83 12.81) survival after 4 weeks of transplanting in sphagnum moss medium.

Downloads

Published

2012-02-02

Issue

Section

Science and Technology