การพัฒนาแอพพลิเคชั่นบนแท็บเล็ตพีซีเรื่องการคูณและการหารเพื่อส่งเสริมทักษะการแก้โจทย์ปัญหาวิชาคณิตศาสตร์สำหรับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
The Development of Application on Tablet PC Titled Multiplication and Division to Support the Problem Solving Skills in Mathematics for Prathom Suksa 2
Keywords:
แอพพลิเคชั่นบนแท็บเล็ตพีซี, การแก้โจทย์ปัญหา, วิชาคณิตศาสตร์, การคูณและการหาร, Tablet PC Application, Problem Solving Skill, Mathematic, Multiplication and DivisionAbstract
การศึกษาค้นคว้าครั้งนี้มีจุดมุ่งหมาย 1) เพื่อพัฒนาแอพพลิเคชั่นบนแท็บเล็ตพีซี เรื่อง การคูณและการหาร เพื่อส่งเสริมทักษะการแก้โจทย์ปัญหา วิชาคณิตศาสตร์ สาหรับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 2) เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน เรื่อง การแก้โจทย์ปัญหาการคูณและการหาร วิชาคณิตศาสตร์ 3) เพื่อศึกษาผลการพัฒนาทักษะการแก้โจทย์ปัญหาเรื่อง การคูณและการหาร วิชาคณิตศาสตร์ 4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อแอพพลิเคชั่นบนแท็บเล็ตพีซี เรื่อง การคูณและการหารเพื่อส่งเสริมทักษะการแก้โจทย์ปัญหา วิชาคณิตศาสตร์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า ได้แก่นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2โรงเรียนบ้านปากคลองลาน อาเภอคลองลานจังหวัดกาแพงเพชร ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 จานวน 1 ห้องเรียน เป็นจานวนนักเรียน 20 คนได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า ได้แก่ 1) แอพพลิเคชั่นบนแท็บเล็ตพีซี เรื่อง การคูณและการหาร เพื่อส่งเสริมทักษะการแก้โจทย์ปัญหา วิชาคณิตศาสตร์ 2) แบบประเมินคุณภาพของแอพพลิเคชั่นบนแท็บเล็ตพีซี เพื่อส่งเสริมทักษะการแก้โจทย์ปัญหา 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง การแก้โจทย์ปัญหา วิชาคณิตศาสตร์ 4) แบบประเมินทักษะการแก้โจทย์ปัญหา เรื่อง การคูณและการหาร วิชาคณิตศาสตร์ 5) แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อแอพพลิเคชั่นบนแท็บเล็ตพีซี เพื่อส่งเสริมทักษะการแก้โจทย์ปัญหา วิชาคณิตศาสตร์ สถิติที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t-test Dependent
ผลการศึกษาค้นคว้าพบว่า แอพพลิเคชั่นบนแท็บเล็ตพีซี เรื่อง การคูณและการหาร เพื่อส่งเสริมทักษะการแก้โจทย์ปัญหา วิชาคณิตศาสตร์ สาหรับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ 75.27/79.80 เป็นไปตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ 75/75 ผลการประเมินคุณภาพของแอพพลิเคชั่นบนแท็บเล็ตพีซี เรื่อง การคูณและการหาร เพื่อส่งเสริมทักษะการแก้โจทย์ปัญหา วิชาคณิตศาสตร์ สาหรับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 อยู่ในระดับเหมาะสมมาก โดยมีค่าเฉลี่ย (Χ̅= 4.28, SD.= 0.52) เมื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนพบว่า คะแนนสอบหลังเรียนของนักเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการพัฒนาทักษะการแก้โจทย์ปัญหาเรื่อง การคูณและการหารวิชาคณิตศาสตร์ สาหรับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 พบว่า คะแนนเฉลี่ยของนักเรียนคิดเป็นร้อยละ 75.38 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ ร้อยละ 75 และนักเรียนมีความพึงพอใจต่อแอพพลิเคชั่นบนแท็บเล็ตพีซี เรื่อง การคูณและการหาร อยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ย (Χ̅= 4.62, SD.=0.50)
The aims of this study were 1) to develop of application Tablet PC to support the problem solving skills in mathematic titled multiplication and division for Prathomsuksa 2. 2) to study academic achievement for problem solving skills before and after learning 3) to study the results the development of students 4) to study the students opinion. The sample were the students Prathomsuksa 2 in Pakklonglan School Khlonglan district, Kampeangphet province during the second semester 2013 derived from cluster sampling method. The instrument used in this research consisted of 1) The application on Tablet PC for to support the problem solving skills in mathematic for multiplication and division for Prathomsuksa 2. 2) the evaluation form of the development Tablet PC Application to support the problem solving skills of the students 3) the evaluation form for measuring academic achievement after learning through the Tablet PC application. 4) the proficiency evaluation from on problem solving skills of multiplication and division 5)the students opinions evaluation from the statistics used for analyzing data were mean, standard deviation and t-test.
The result of this study were summarized as follows: the efficiency of development of Table PC application to support the problem solving skills in mathematic for multiplication and division for Prathomsuksa 2 were 80.72/82.66 which passed the set criteria of 75/75. The quality level of the application was good with its mean of 4.28. The comparison of learning achievement before and after the learning showed that the scores after learning were higher 75.38%. The statistic significant was at .05 level and the opinions of students were at high level and its mean 4.62.
Downloads
Published
Issue
Section
License
Copyright (c) 2014 Naresuan University Journal: Science and Technology
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial 4.0 International License.