ปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลต่อลักษณะทางกายภาพของผักบุ้ง (Ipomoea aquatica Forsk) ในแม่น้ำท่าจีน

Environmental Factors Affect to Physical Appearance of Water Spinach (Ipomoea aquatica Forsk) in the Tha Chin River

Authors

  • Kamonporn Phukpanasun Department of Environmental Science, Faculty of Environment, Kasetsart University, Bangkok 10900
  • Kasem Chunkao Department of Environmental Science, Faculty of Environment, Kasetsart University, Bangkok 10900
  • Narouchit Dampin Department of Environmental Science, Faculty of Environment, Kasetsart University, Bangkok 10900

Keywords:

ผักบุ้ง, แม่น้าท่าจีน, ปัจจัยสิ่งแวดล้อม, คุณภาพน้า, ธาตุอาหารพืช (ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม), Water Spinach (Ipomoea aquatica Forsk), Tha Chin River, Environmental Factors, water quality, nutrient (N, P, K)

Abstract

        การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาลักษณะทางกายภาพและปริมาณธาตุอาหารของผักบุ้งในแม่น้าท่าจีน และหาความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพน้าซึ่งเป็นปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อลักษณะทางกายภาพของผักบุ้งในแม่น้าท่าจีน โดยทาการเก็บตัวอย่างน้าและผักบุ้งในแม่น้าท่าจีน 3 สถานี คือ อ.สองพี่น้อง จ. สุพรรณบุรี อ.บางเลน และ อ.สามพราน จ.นครปฐม ตามลาดับ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2557 พบว่า ผักบุ้งทั้ง 3 สถานีมีลักษณะทางกายภาพด้านความกว้างและความยาวแตกต่างกันทางสถิติ ยกเว้นในส่วนยอดอ่อนที่ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ โดยผักบุ้งในสถานีที่ 3 (อ. สามพราน จ.นครปฐม) มีลักษณะทางกายภาพด้านความยาวลาต้น กิ่งแขนง ใบ และรากมากที่สุด เนื่องจากคุณภาพน้ามีปริมาณไนเตรท (NO3--N) ซึ่งเป็นธาตุอาหารพืชในแหล่งน้ามาก และพบว่าผักบุ้ง ทั้ง 3 สถานีมีน้าหนักสดและน้าหนักแห้งในส่วนต่างๆแตกต่างกันทางสถิติ ยกเว้นในส่วนยอดอ่อนที่ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ โดยผักบุ้งมีน้าหนักสดมากที่สุดในส่วนลาต้น รองลงมาคือใบ ยอดอ่อน และรากตามลาดับ และมีน้าหนักแห้งมากที่สุดในส่วนลาต้น รองลงมาคือใบ ราก และยอดอ่อนตามลาดับ ด้านการสะสมปริมาณธาตุอาหารในส่วนต่างๆของผักบุ้ง พบว่า ผักบุ้งมีปริมาณการสะสมธาตุไนโตรเจน (N) ในส่วนลาต้น ใบ และยอดอ่อนน้อยกว่า 0.5 ก./100ก. ฟอสฟอรัส (P) น้อยกว่า 0.29 ก./100ก. และโพแทสเซียม (K) มีปริมาณการสะสมมากที่สุดในส่วนยอดอ่อนซึ่งมีค่าอยู่ระหว่าง 0.39-0.44 ก./100ก. รองลงมาคือลาต้น และใบตามลาดับ โดยมีปัจจัยสิ่งแวดล้อม คือ คุณภาพน้าบางประการที่มีความสัมพันธ์ต่อลักษณะทางกายภาพของผักบุ้ง ได้แก่ ปริมาณธาตุอาหารพืชในน้า ไนเตรท (NO3--N) ออโทฟอตเฟส (PO43--P) โพแทสเซียม (K+) ของแข็งละลายน้าทั้งหมด (TDS) และการนาไฟฟ้า (EC) มีความสัมพันธ์โดยตรงกับลักษณะทางกายภาพของผักบุ้ง โดยเฉพาะต่อรากผักบุ้ง ในขณะที่ค่าความต้องการออกซิเจนทางชีวภาพ (BOD) ความต้องการออกซิเจนทางเคมี (COD) ปริมาณคาร์บอนทั้งหมดในสารอินทรีย์ (TOC) และความเร็วกระแสน้า (Water Flow rate) มีความสัมพันธ์ในทางตรงกันข้ามกับลักษณะทางกายภาพของผักบุ้งในแม่น้าท่าจีน 

        This research aims to study on the physical appearance and nutrient contents of water spinach (Ipomoea aquatica Forsk) in the Tha Chin River and find out the relationship between environmental factors and physical appearance of water spinach cultured. Water and water spinach samples were collected from three stations: Song Phi Nong District, Suphan Buri province Bang Len and Sam Phran District, Nakhon Pathom province, respectively. This study was carried out in May 2014. The results found the physical appearance (wide or length) of water spinach stem were significant difference in all stations except in shoots characteristic which was not significant difference. The plant in satation 3 (Sam Phran, Nakhon Pathom ) was the longest in stems, branches, leaves and roots due to plenty nitrate (NO3--N) which is a source of plant nutrients in the water. Found fresh weight and dry weight were significant difference among stations except in shoots which were not significant difference. Water spinach have the most wet weight in stems followed by leaves, shoots and roots, respectively and dry weight in stems followed by leaves, roots and shoots, respectively. Nutrient contents in different organs of water spinach showed that the nitrogen (N) contents in stems, roots and shoots was less than 0.5 g/100 g phosphorus (P) contents in stems, roots and shoots was less than 0.29 g/100 g. However, potassium (K) contents was highest in shoots as 0.39-0.44 g/100 g followed by stems and leaves, respectively. The environmental factors such as water quality those affect to the physical appearance of water spinach were nitrate (NO3--N), orthophosphate (PO43--P), potassium (K+), total dissolved solids (TDS) and conductivity (EC) showed a direct relationship to the physical appearance of water spinach especially roots. While biological oxygen demand (BOD), chemical oxygen demand (COD), total organic carbon (TOC) and water flow rate were negative to correlated the physical appearance of water spinach in the Tha Chin River.

Downloads

Published

2015-08-17

Issue

Section

Research Articles