ต้นทุนชีวิต กับพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่น
The Life Assets and Health Promotion Behavior in Teenage Pregnancy
Keywords:
ต้นทุนชีวิต, พฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ, สตรีตั้งครรภ์วัยรุ่น, Life assets, Health promotion behavior, Teenage pregnancyAbstract
การตั้งครรภ์ของสตรีวัยรุ่นจัดเป็นปัญหาที่สำคัญของประเทศ เนื่องจากมีผลกระทบต่อสุขภาพของสตรีวัยรุ่นทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และทารกในครรภ์ รวมทั้งปัญหาทางด้านครอบครัว เศรษฐกิจและสังคม ต้นทุนชีวิตของสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นจะมีส่วนเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่น โดยส่งเสริมให้สตรีวัยรุ่นสนใจตนเองและมีพฤติกรรมที่ดีในการดูแลสุขภาพขณะตั้งครรภ์ ซึ่งแนวทางส่งเสริมพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นใช้แนวคิดของเพนเดอร์ร่วมกับต้นทุนชีวิต ประกอบด้วย 6 ด้าน ได้แก่ ด้านโภชนาการ ด้านการออกกำลังกาย ความรับผิดชอบต่อสุขภาพ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล การจัดการกับความเครียดและด้านการพัฒนาจิตวิญญาณ ทั้งนี้สตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นที่มีต้นทุนชีวิตที่ดีทั้งพลังตนเอง พลังครอบครัว พลังสร้างปัญญา พลังเพื่อนและกิจกรรม รวมถึงพลังชุมชนจะมีส่วนช่วยส่งเสริมให้สตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นมีพัฒนาการตามวัยที่เหมาะสม มีความเชื่อมั่นในตนเอง ลดพฤติกรรมเสี่ยงขณะตั้งครรภ์ กล้าปฏิเสธเพื่อนในพฤติกรรมเสี่ยง ส่งเสริมการเห็นคุณค่าในตนเอง และการยึดมั่นในพฤติกรรมที่ดี ซึ่งจะมีผลให้สตรีวัยรุ่นมีพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพที่ดีขณะตั้งครรภ์
Teenage pregnancy is the important problem of Thailand. It affects the health of mothers and their newborns in terms of body, mind, emotion, family, economy, and society. However, life assets can affect health promotion behavior of those teenage pregnancy by encouraging self care and good behavior during pregnancy. The method to increase the health promotion behavior in teenage pregnancy is the integration of the Pender’s health promotion model and life assets, comprising six components: nutrition, exercise, health responsibility, interpersonal relation, stress management, and self actualization of spiritual growth. Therefore, teenage pregnancy has the good life assets including personal image power, family power, wisdom building power, peer power and activities, and community power can improve the suitable life development. Teenage mothers will have self-confidence, reduce the risk behavior during pregnancy, reduce risky behavior, promote self-esteem, and persist in good behavior. Finally, they will have the good health promotion behavior during pregnancy.
References
ไชยพร สำราญสุข. (2555). Monkey Sprite. Retrieved from http://monkeyspriteblogspot.com/012/02/blog-post_10.html [1]
ดลฤดี เพชรขว้าง, จรรยา แก้วใจบุญ, เรณู บุญทา, และ กัลยา จันทร์สุข. (2554). การตั้งครรภ์วัยรุ่นและปัจจัยที่เกี่ยวข้องต่อการตั้งครรภ์ในสตรีวัยรุ่นที่มารับบริการฝากครรภ์ โรงพยาบาลพะเยา. พะเยา: วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีพะเยา สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข. [2]
บัวแก้ว ใจดีเจริญ. (2555). พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรังสิต. [3]
มาลีวัล เลิศสาครศิริ. (2557). ปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น. วารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพ, 37(4), 74-82. [4]
มาลีวัล เลิศสาครศิริ. (2552). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น แผนกฝากครรภ์ กรุงเทพมหานคร. วารสารสาธารณสุขศาสตร์, 39(2), 161-172. [5]
ศริยา ตั้งโฉลก. (2555). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุนชีวิตกับทักษะชีวิตและพฤติกรรมความรับผิดชอบของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ในจังหวัดสมุทรปราการ. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรามคำแหง. [6]
สมจิตร เมืองพิล, สุจิตรา เทียนสวัสดิ์, กรรณิการ์ กันธะรักษา, สุสัณหา ยิ้มแย้ม, และVonderheid, S. C. (2010). การรับรู้ต่อการเป็นหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นที่ไม่แต่งงานของวัยรุ่นหญิงไทยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. Pacific Rim International Journal of Nursing Research, 14(2), 149-161. [7]
สุคนธา ยางสวย. (2552). ผลการใช้รูปแบบการพยา บาลเจ้าของไข้ที่บูรณาการทฤษฎี การสนันสนุนทางสังคมต่อการรับรู้ความผาสุขหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, วิทยาลัยเซนต์หลุยส์. [8]
สุมาลัย นิธิสมบัติ. (2553). การตั้งครรภ์ของมารดาวัยรุ่น. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัย เชียงใหม่. [9]
สุริยเดว ทรีปาตี. (2554). ต้นทุนชีวิต .. จุดเปลี่ยนสังคมไทย. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล เจี้ยฮั๊ว. [10]
สุริยเดว ทรีปาตี. (2552). สร้างต้นทุน (ชีวิต) คุณทำได้. กรุงเทพฯ: รวมทวีผลการพิมพ์. [11]
สุรศักดิ์ ฐานีพานิชสกุล. (2555). การตั้งครรภ์ที่ไม่ต้องการ. ใน วิทยา ถิฐาพันธ์ และคนอื่นๆ (บก.). วิกฤติในเวชปฏิบัติปริกำเนิด (น. 143-149). กรุงเทพฯ: พี. เอ. ลีฟวิ่ง. [12]
Olds, S. B., London, M. L., Ladewig, P. W., & Davidson, M. R. (2004). Maternal-newborn nursing & women’s health care (7th ed.). New Jersey: Pearson Education.
Pender, N. J., Murdaugh, C. L., & Parsons, M. A. (2011). Health promotion in nursing practice (6th ed.). New Jersey: Pearson.
Pérez-López, F. R., Peter, C., Kravitz, A. S., Salazar-Pousada, D., & Hidalgo, L. (2011). Present problems and controversies concerning pregnant adolescents. Open Access Journal of Contraception, 12(2), 85-94.
Pillitteri, A. (2010). Maternal & Child health nursing: Care of the Childbearing & Childrearing family (6th ed.). New York: Lippincott Williams & Wilkins.
Ruey-Hsia, W., Shu-Wen, C., Shan-Mei, T., Shu-Li, L., & Shu-Yuan, J. (2011). The relationship between selected developmental assets and health-promoting behaviors of adolescents in Southern Taiwan. Journal of Clinical Nursing, 20, 359-368.
Watchaseranee, N., Pinchantra, P., & Piyaman, S. (2006). The incidence and Complication of Teenage Pregnancy at Chonburi Hospital. Journal of Medicine association Thai. 89, (suppl 4), S118-123.
World Health Organization. (2012). Adolescent pregnancy: Fact sheet N 364; May 2012. Retrieved from http:/www.who.int/mediacentre/factsheets/fs364/en/
Translated Thai References
Jaideejarian, B. (2012). Health promoting behaviors and factors relating to health promoting behaviors of teenage pregnant women. A Thesis for The degree of Master, Rangsit University. [in Thai] [3]
Lertsakornsiri, M. (2014). Factors Associated with Health care behavior in Pregnant Adolescents. Journal of Nursing Science and Health, 37(4), 74-82. [in Thai] [4]
Lertsakornsiri, M. (2009). Factors Relating to Health Promoting Behaviors in Pregnant Adolescents in Antenatal Clinics Bangkok Metropolis. Journal of Public Health, 39(2), 161-172. [in Thai] [5]
Muangpin, S., Tiansawad, S., Kantaruksa, K., Yimyam, S., & Vonderheid, S. C. (2010). Northeastern Thai Adolescents’ Perceptions of Being Unmarried and Pregnant. Pacific Rim International Journal of Nursing Research, 14(2), 149-161. [in Thai] [7]
Nitisombut, S. (2010). The teenage pregnant women. A Thesis for The degree of Master, Chiang Mai University. [in Thai] [9]
Pechkwang, D., Kaewjiboon, J., Boontha, R., & Junsuk, K. (2011). Impacts of pregnancy and factors affecting pregnancy among teens who received prenatal care at Phayao hospital. Phayao: Boromarajonani College of Nursing, Phayao. [in Thai] [2]
Sumransuk, S. (2012). Monkey Sprite. Retrieved from http://monkeysprite blogspot.com/2012/02/blog-post_10.html [in Thai] [1]
Tangchalok, S. (2012). A Study of the Relationships among Developmental Assets, Affective Life Skills and Responsible Behaviors of Matthayom Sueksa Four Students in Samut Prakan Province. A Thesis for The degree of Master, Ramkhamhaeng University. [in Thai] [6]
Thanepanitsakul, S. (2012). Unwanted Pregnancy. In V. Tithapun et al. (Eds.). Crises in Perinatal Practice (pp. 143-149). Bangkok: P. A. Living. [in Thai] [12]
Trepatee, S. (2011). Life assets: the social change Thailand. Bangkok: Partnership Jian Hua. [in Thai] [10]
Trepatee, S. (2009). Build Life assets: You can. Bangkok: Romtavipon printing. [in Thai] [11]
Yangsuay, S. (2009). Effect of the use of primary nursing model that integrates social support on wellness as perceived by teenage pregnant women. A Thesis for The degree of Master, Saint Louis College. [in Thai] [8]
Downloads
Published
Issue
Section
License
Copyright (c) 2016 Naresuan University Journal: Science and Technology
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial 4.0 International License.